คํา ศัพท์ พ นาม – นาม (สัพพนาม) | บาลีดิค

พระราชวังดุสิต (รายการวิทยุ แสดงธรรมโดย พระโสภณคณาภรณ์)

ถ.พ. - วิกิพจนานุกรม

ทํา สวน หลัง บ้าน

ขมัง - วิกิพจนานุกรม

  • ขายถูก โครงการใหม่ล่าสุด คอนโด Flexi สาทรเจริญนคร ชั้น5 เพียง 2.48 ล้าน ขนาด30.13ตรม. เฟอร์ครบ fully furnished ใกล้รถไฟฟ้ากรุงธน600ม. ใกล้ไอค่อนสยาม1.7 กม. ใกล้ห้างเสนาเฟส โทรนัดชมห้อง 0954935293 (จอย) ไม่รับเอเจ้นท์นะคะ | Livinginsider
  • เปรียบเทียบ*พร้อมส่ง* อลาวรี่ ผลิตภัณฑ์ทาขนมปังผสมเนื้อปูอัด 170กรัม Allowrie Spread crabs mixed with crab meat 170 grams | Thai garnish
  • ถ.พ. - วิกิพจนานุกรม
  • เต้า เจียว ขวด axie
  • รวมสูตร ( ไข่เยี่ยวม้า ) 107 สูตร พร้อมวิธีทำ อร่อยง่ายๆที่บ้าน ทำตามได้จริง - Cookpad
  • นาม (สัพพนาม) | บาลีดิค
  • คำสรรพนาม - Google Docs
  • After the sun rini แปล
  • The brick plus เชียงใหม่ tv
  • พจนานุกรมเรียงตามตัวอักษร พจนานุกรมออนไลน์ (Dictionary Online) เรียงตามตัวอักษร พ ทั้งหมด
  • นาม (สัพพนาม) | พระเฉลิม

รวมศัพท์ IELTS ที่เป็น Uncountable Nouns (นามนับไม่ได้) ไม่ต้องเติม S | OpenDurian เตรียมสอบ TOEIC IELTS TCAS ก.พ.

เสีย ดอก ดอก ลอย

คำสรรพนาม - Google Docs

นก โน้น ย่อมร้อง. อมุกา สกุณี รวติ. นางนก โน้น ย่อมร้อง. อมุกํ กุลํ นคเร ติฏฺฐติ. ตระกูล โน้น ย่อมตั้งอยู่ ในเมือง. อสุโก ภิกฺขุ คามํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ. ภิกษุ โน้น เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อบิณฑะ.

(021) สรรพนาม : ปุริสสรรพนาม ⋆ Pali Coach

นาม (สัพพนาม) | พระเฉลิม

ร้าน ขาย id minecraft

เกรียง - วิกิพจนานุกรม

ตัวอย่าง ปุงลิงค์ การแปล ต (นั้น) คู่กับ ปุริส ฝ่ายเอกวจนะ ต ศัพท์ (นั้น) นาม คำแปล ป. ทุ. ต. จ. ปญ. ฉ. ส. โส ตํ นํ เตน ตสฺส อสฺส ตสฺมา อสฺมา ตมฺหา ตสฺส อสฺส ตมฺหา ตสฺมึ อสฺมึ ตมฺหิ ปุริโส ปุริสํ ปุริเสน ปุริสสฺส ฯเปฯ ปุริสสฺมา ฯเปฯ ปุริสสฺส ปุริสสฺมึ ฯเปฯ อ. บุรุษ นั้น ซึ่งบุรุษ นั้น ฯลฯ ด้วยบุรุษ นั้น ฯลฯ แก่บุรุษ นั้น ฯลฯ แต่บุรุษ นั้น ฯลฯ แห่งบุรุษ นั้น ฯลฯ ในบุรุษ นั้น ฯลฯ ตัวอย่าง ปุงลิงค์ การแปล ต (นั้น) คู่กับ ปุริส ฝ่ายพหุวจนะ คำแปล (ท. เหล่านั้น) เต เต เน เตหิ เตสํ เตสานํ เนสํ เนสานํ เตสุ ปุริสา ปุริเส ปุริเสหิ ปุริสานํ ปริเสสุ อ. บุรุษ ท. เหล่านั้น ซึ่งบุรุษ ท. เหล่านั้น ฯลฯ ด้วยบุรุษ ท. เหล่านั้น ฯลฯ แก่บุรุษ ท. เหล่านั้น ฯลฯ แต่บุรุษ ท. เหล่านั้น ฯลฯ แห่งบุรุษ ท. เหล่านั้น ฯลฯ ในบุรุษ ท. เหล่านั้น ฯลฯ

ผม/ดิฉัน นั้น กระทำ ซึ่งคำ ของอาจารย์. เต/ตา มยํ อาจริยสฺส วจนํ กโรม. ผม ท. /ดิฉัน ท. นั้น กระทำ ซึ่งคำ ของอาจารย์. (ตุมฺห และ อมฺห ศัพท์ เป็นได้ทั้ง 2 ลิงค์ และแจกเหมือนกันทั้ง 2 ลิงค์) เต เม โว โน ห้ามเรียงไว้ต้นประโยค ต้องมีคำอื่นนำหน้าเสมอ เช่น โก นาม เต อุปชฺฌาโย? อุปัชฌาย์ ของท่าน ชื่ออะไร? อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ท่าน จงเป็น อุปัชฌาย์ ของกระผม. อหํ ธมฺมํ โว เทเสสฺสามิ. ข้าพเจ้า จักแสดง ซึ่งธรรม แก่ท่าน ท. พุทฺโธ โน โลเก อุปฺปชฺชิ. พระพุทธเจ้า ของเรา ท. เสด็จอุบัติขึ้นแล้ว ในโลก. กึ ศัพท์ (ใคร, อะไร, ไหน) ปุงลิงค์ แปลง กึ เป็น ก แล้วแจกอย่าง ย ศัพท์ อิตถีลิงค์ แปลง กึ เป็น กา แล้วแจกอย่าง ย ศัพท์ นปุงสกลิงค์ แปลง กึ เป็น ก ยกเว้น ป. ทุ. เอก. คงเป็น กึ แล้วแจกอย่าง ย ศัพท์ ใน ปุ. นปุ. แปลง ก เป็น กิ ได้บ้าง เช่น จ. ฉ. กิสฺส ส. กิสฺมึ กิมฺหิ การใช้ กึ ศัพท์ กึ ศัพท์ที่ใช้เป็นคำถาม ( ดูเพิ่มเติม การสร้างประโยคคำถาม ในภาษาบาลี) กึ ศัพท์ สัพพนาม (ใคร, อะไร, ไหน) ใช้อย่าง ปุริสสัพพนาม คือ ใช้ลำพังตัวเอง ไม่ต้องประกอบกับนามนาม แปลว่า ใคร อะไร เช่น โก / กา คามํ อาคจฺฉติ?

1อนิยมวิเสสนสัพพนาม คือสัพพนามที่ใช้ประกอบกับนามนาม ไม่ระบุแน่ชัดว่า เป็นใคร หรือสิ่งใด มี 13ศัพท์ คือ 1. ย ใด 7. กตร คนไหน, อย่างไหน 2. อญฺญ อื่น 8. กตม คนไหน, อย่างไหน 3. อญฺญตร คนใดคนหนึ่ง 9. เอก คนหนึ่ง, พวกหนึ่ง 4. อญฺญตม คนใดคนหนึ่ง 10. เอกจฺจ บางคน, บางพวก 5. ปร อื่น 11. สพฺพ ทั้งปวง 6. อปร อื่นอีก 12. อุภย ทั้งสอง 13. กึ อะไร 2. 2นิยมวิเสสนสัพพนาม คือสัพพนามที่ใช้ประกอบกับนามนาม ระบุแน่ชัดว่าเป็น คนนั้นคนนี้ หรือสิ่งนั้นสิ่งนี้ มี 4ศัพท์ คือ 1. ต นั้น 2. เอต นั่น, นี่ 3. อิม นี้ 4. อมุ โน้น ต ศัพท์ ที่เป็นปุริสสัพพนาม แปลว่า เขา มัน ท่าน นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนาม ใช้แทนนามนามที่กล่าวมาแล้ว โดยไม่ยกนามนามนั้นมากล่าวซ้ำอีก เช่น ทารโก รุกฺขํ อภิรุหติ, โส ตมฺหา ปตติ. อ. เด็ก ย่อมขึ้น สู่ต้นไม้, อ. เขา ย่อมตก จากต้นไม้ นั้น. อุปาสิกา ภิกฺขุสงฺฆสฺส ยาคุภตฺตํ อทาสิ, สา สทฺธาย ปุญฺญํ กโรติ. อ. อุบาสิกา ได้ถวายแล้ว ซึ่งข้าวต้มและข้าวสวย แก่หมู่แห่งภิกษุ, อ. นาง ย่อมกระทำ ซึ่งบุญ ด้วยศรัทธา. มธุ เคเห อโหสิ, มาตา ตํ อาหริ. อ. น้ำผึ้ง ได้มีแล้ว ในบ้าน, อ. มารดา นำมาแล้ว ซึ่งมัน.

พ่อค้า ย่อมเห็น ซึ่งขอทาน ในหนทาง, เขา (พ่อค้า) ย่อมให้ ซึ่งทาน แก่เขา (ขอทาน) สามเณโร อาวาสํ อาคจฺฉติ, โส ธมฺมํ เทเสติ. สามเณร มาอยู่ สู่วัด, เขา (สามเณร) ย่อมแสดง ซึ่งธรรม ใช้เป็น " นิยมวิเสสนสรรพนาม " หรือคุณนาม (คุณศัพท์) โดยวางไว้หน้าคำนามที่ต้องการขยาย ประกอบด้วยลิงค์ วจนะ วิภัตติเดียวกันกับคำนามที่ไปขยาย ถ้าขยายเอกวจนะแปลว่า " นั้น " ถ้าขยายพหุวจนะแปลว่า " เหล่านั้น " เช่น โส เถโร เตสํ อุปาสกานํ ธมฺมํ เทเสติ. พระเถระ นั้น ย่อมแสดง ซึ่งธรรม แก่อุบาสก ท. เหล่านั้น เต สิสฺสา ตํ อาจริยํ วนฺทึสุ. ศิษย์ ท. เหล่านั้น ไหว้แล้ว ซึ่งอาจารย์ นั้น

Wednesday, 21 September 2022