การ สอน แบบ บรรยาย

1 พิจารณาและกำหนดจุดประสงค์ของการสอนให้ชัดเจน 1. 2 ศึกษาผู้เรียนในด้านภูมิหลัง ความรู้ ความสามารถ ความต้องการและความสนใจ 1. 3 ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่จะบรรยาย ให้กว้างขวางจากตำรา วารสาร แหล่งสนเทศที่เชื่อถือได้ และประสบการณ์ของตนเอง 1. 4 พิจารณากำหนดเค้าโครง จัดลำดับขั้นตอนของเนื้อหา เชื่อมโยงกับความรู้พื้นฐานของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้มากที่สุด 1. 5 เตรียมภาษาที่จะบรรยาย ต้องมีเหตุผล ผู้เรียนเข้าใจได้ง่าย น่าสนใจยิ่งขึ้น 1. 6 เตรียมสื่อต่างๆ เช่น รูปภาพ ของจริง หุ่นจำลอง แผนภูมิ ภาพยนตร์ สไลด์ แผ่นใส ฯลฯ 1. 7 เตรียมวิธีการประเมินผล เช่นการสังเกต การใช้คำถาม การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ 1. 8 ก่อนบรรยายต้องเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ต่างๆให้เรียบร้อย พร้อมที่จะใช้ได้ตามความต้องการ 2. ขั้นบรรยาย 2. 1 แสดงความจริงจัง มีความเชื่อมั่นในเรื่องที่จะบรรยาย 2. 2 ควบคุมอารมณ์ไม่ตื่นเต้น ไม่ประหม่า หรือ เครียด แสดงความเป็นกันเอง ยิ้มแย้มแจ่มใส 2. 3 พูดด้วยเสียงที่เป็นธรรมชาติ ชัดถ้อยชัดคำ ไม่เร็วหรือช้าเกินไป 2. 4 ใช้สายตามองผู้เรียนเพื่อแสดงว่าผู้สอน เห็นความสำคัญของผู้เรียนเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ 2.

  1. วิธีสอนการสอนแบบสาธิต(Demonstration Method) | beebeecom
  2. วิธีการสอนแบบบรรยาย | foonfriendly
  3. วิธีการสอนเเบบบรรยาย | maymymay
  4. การสอนแบบ บรรยาย
  5. แบบบรรยาย | phatcom10
  6. วิธีการสอนแบบบรรยาย(Lecture) | sixzoda

วิธีสอนการสอนแบบสาธิต(Demonstration Method) | beebeecom

ขั้นติดตามผล วัดผลประเมินผลผู้เรียน – ตรวจสมุดบันทึกที่ผู้เรียนจดคำบรรยาย – ถามคำถามในเนื้อหาที่บรรยาย – ให้ทำข้อทดสอบ หรือแบบฝึกหัดเพิ่มเติม วัดผลประเมินผู้สอน – จัดทำแบบสอบถามให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการสอน การอธิบาย การใช้น้ำเสียง บุคลิกท่าทาง ฯลฯ – ให้เพื่อนครูได้เข้าสังเกตการสอน แล้วให้ข้อเสนอแนะเพื่อเป็นประโยชน์แก่การสอน – ใช้เทปบันทึกเสียงบันทึกการบรรยายของตน แล้วนำไปเปิดฟังเพื่อพิจารณาประเมินตนเอง

วิธีการสอนแบบบรรยาย | foonfriendly

  • วิธีสอนแบบบรรยาย | thida3134
  • การสอนแบบ บรรยาย
  • ท่าพระจันทร์ดอทคอม | ThaprachanDotCom : พระปิดตา หลวงพ่อครน วัดบางแซะ
  • Life ส ปอย
  • ข้อดีข้อเสียของการใช้คำบรรยายเป็นวิธีการสอน

วิธีการสอนเเบบบรรยาย | maymymay

การสอนแบบ บรรยาย

การสอนแบบ บรรยาย

ศ.

แบบบรรยาย | phatcom10

เลือกสาธิตเรื่องที่สนใจและเป็นสิ่งที่แปลกใหม่สำหรับนักเรียน 2. ไม่ควรบอกผลการสาธิตให้นักเรียนทราบล่วงหน้า 3. พยายามให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการสังเกตซักถามและตอบคำถาม 4. ในระหว่างสาธิต ไม่ควรบรรยายมากเกินไป 5. ไม่ควรเร่งการสาธิต อาจทำให้นักเรียนตามไม่ทัน และไม่เข้าใจ 6. ควรให้เด็กทุกคนมองเห็นได้ทั่วถึง และครูควรเอาใจใส่ต่อผู้เรียนทุกคน 7. การสรุปผล ควรให้นักเรียนเป็นผู้สรุป 8. ต้องประเมินผลการสาธิตทุกครั้งว่าเด็กเข้าใจหรือไม่ จุดประสงค์ของวิธีการสอนแบบสาธิต 1. เพื่อกระตุ้นความสนใจให้นักเรียนมีความสนใจบทเรียนยิ่งขึ้น 2. เพื่อช่วยอธิบายเนื้อหาที่ยาก 3. เพื่อพัฒนาการฟังการสังเกตและการสรุปทำความเข้าใจ 4. เพื่อแสดงวิธีการหรือกลวิธีในการปฏิบัติงาน 5. เพื่อสรุปประเมินผลความเข้าใจฝนบทเรียน และทบทวนบทเรียน ขั้นตอนการสอนแบบสาธิต วิธีการสอนแบบสาธิตมีขั้นตอนการสอนดั้งนี้ 1. ขั้นเตรียมการสาธิต เป็นขั้นตอนการทำการสาธิต ซึ่งครูควรเตรียมตัวดังนี้ 1. 1ศึกษาบทเรียนที่จะสาธิตให้เข้าใจแจ่มแจ้ง 1. 2เตรียมอุปกรณ์ที่จะสาธิตให้พร้อม 1. 3ทดลองการสาธิตดูก่อน 1. 4จัดชั้นเรียนให้เหมาะสมกับการสาธิตบทเรียน 1. 5เขียนแผนภูมิแสดงขั้นตอนของการสาธิตไว้ 2.

วิธีการสอนแบบบรรยาย(Lecture) | sixzoda

วิธีสอนแบบบรรยาย ความหมาย วิธีการสอนแบบบรรยาย หมายถึง วิธีสอนที่ผู้สอนบอกเล่า อธิบาย เนื้อหาเรื่องราวต่างๆให้แก่ผู้เรียน โดยที่ผู้สอนเตรียมการ ค้นคว้าเนื้อหามาเป็นอย่างดี โดยทั่วไปมักจะเป็นการสื่อความหมายทางเดียว คือจากผู้สอนไปสู่ผู้เรียน โดยผู้เรียนจะมีส่วนร่วมน้อย เพียงแต่ฟัง จดบันทึก ซักถามบางครั้ง วิธีสอนแบบนี้จะยึดบทบาทของผู้สอนเป็นสำคัญ (อินทิรา บุณยาทร, 2542, หน้า 85) ความมุ่งหมาย 1. เพื่อให้ความรู้หรือประสบการณ์ใหม่แก่ผู้เรียน เป็นความรู้ที่ค้นคว้า หาได้ยาก หรือเป็นประสบการณ์เฉพาะของผู้สอนเอง 2. เพื่อช่วยนำทางในการอ่านหนังสือของผู้เรียน และช่วยสรุปประเด็นสำคัญในกรณีที่ผู้สอนมอบหมายให้ไปอ่านมาล่วงหน้า 3. เพื่อมุ่งถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยในเวลาที่จำกัด ขั้นตอนการสอน 1. ขั้นเตรียมการสอน ประกอบด้วย 1. 1 วินิจฉัยผู้เรียน โดยพิจารณาถึงพื้นฐานความรู้ ประสบการณ์เดิม ความสามารถของผู้เรียน อาจใช้วิธีพูดคุย ซักถาม หรือแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อใช้เป็นประโยชน์ในการเตรียมเนื้อหาและวิธีการสอน 1. 2 เตรียมเนื้อหา โดยพิจารณาถึงความละเอียด ลึกซึ้ง มากน้อย และตามลำดับของเนื้อหา ให้เหมาะสมกับเวลาและลักษณะของผู้เรียน 1.

ใช้สอนกับผู้เรียนจำนวนมาก 2. สะดวกในการให้เนื้อหาทางทฤษฎี 3. ผู้สอนดำเนินการคนเดียวได้ทั้งการควบคุมชั้นเรียนและการสอน 4. ส่งเสริมทักษะการย่อความและเขียนบันทึก ข้อจำกัด 1. ไม่คำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน เพราะต้องรับรู้เรื่องเดียวกันในเวลาเดียวกัน 2. ผู้เรียนไม่มีโอกาสได้แสดงความคิดเห็น ทำให้ขาดโอกาสฝึกความคิดสร้างสรรค์ 3. เหมาะกับการสอนระดับอุดมศึกษา ซึ่งผู้เรียนมีความสนใจในการฟังช่วงยาว ไม่เหมาะกับการสอนในระดับประถมศึกษา ซึ่งผู้เรียน มีช่วงความจำสั้น บรรณานุกรม -ทิศนา แขมณี. (2551). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดการกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทาลัย. – คู่มือการพัฒนาการเรียนการสอน ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาธรรมวิทยา, หน้า 40-66. -สุพิน บุญชูวงศ์. (2538). หลักการสอน. กรุงเทพ: (ม. ป. ป)

2 ขั้นอธิบาย เป็นขั้นสำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน ผู้สอนควรได้ดำเนินการ ดังนี้ 1) บอกโครงเรื่อง เครือข่ายของเนื้อหา และแจ้งจุดประสงค์ของบทเรียน 2) อธิบายให้ชัดเจนตามลำดับเนื้อหาอย่างต่อเนื่องกัน 3) สังเกตปฏิกิริยาตลอดเวลาเพื่อการย้ำหรือหยุดทบทวนใหม่ 4) ถามคำถามในบางตอนเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน 5) ยกตัวอย่างประกอบ เพื่อเพิ่มความแจ่มแจ้งในบทเรียน 6) ใช้น้ำเสียง บุคลิกภาพ ท่าทีการพูดอธิบาย การใช้ภาษา อารมณ์ขันที่เหมาะสม 1. 3 ขั้นสรุป เป็นการปิดท้ายชั่วโมงการบรรยาย อาจใช้วิธี 1) สรุปโยงเนื้อหาตั้งแต่ต้นจนจบ 2) ตั้งปัญหาให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ 3) ฝากปัญหาให้ผู้เรียนไปคิดต่อ 4) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถามปัญหา 5) มอบหมายงานให้ผู้เรียนไปค้นคว้าต่อเพิ่มเติม 6) บอกล่วงหน้าถึงเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งต่อไป 3. ขั้นติดตามผล ประกอบด้วย 3. 1วัดและประเมินผลผู้เรียน โดยอาจใช้วิธี 1) ตรวจสมุดบันทึกที่ผู้เรียนจดบรรยาย 2) ถามคำถามในเนื้อหาที่บรรยาย 3) ให้ทำข้อสอบหรือแบบฝึกหัดเพิ่มเติม 3. 2วัดผล ประเมินผลผู้สอน โดยอาจใช้วิธี 1) จัดทำแบบสอบถามให้ผู้เรียนได้ทราบความคิดเห็น เกี่ยวกับวิธีการสอน การอธิบาย การใช้น้ำเสียง บุคลิกท่าทาง 2) ให้เพื่อนครูได้เข้าสังเกตการณ์สอน แล้วให้ข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็นประโยชน์ในการสอน 3) บันทึกการบันยายของตนแล้วนำไปพิจารณา ประเมินตนเอง ข้อดีและข้อจำกัดของการบรรยาย ข้อดี 1.

สอนได้รวดเร็ว ๒. สอนนักเรียนไม่จำกัดจำนวน ใช้สอนได้ตั้งแต่กลุ่มเล็กจนถึงกลุ่มใหญ่ ๓. เหมาะสำหรับเนื้อหาที่ยากทำให้ง่ายขึ้น ง่ายแก่การเข้าใจ ๔. ส่งเสริมทักษะการย่อและการเขียน ข้อจำกัด ๑. นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนน้อย ทำให้หมดความสนใจ ถ้านั่งฟังมากเกินไป ๒. นักเรียนบางกลุ่มอาจตามไม่ค่อยทัน จะทำให้ไม่เข้าใจ ถ้านั่งฟังมากเกินไป ๓. ไม่ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ไม่เหมาะสำหรับการสอนระดับประถมศึกษา บรรณานุกรม สุพิน บุญชูวงค์. (๒๕๓๘). หลักการสอน. กรุงเทพฯ: (ม. ป. ท. ). อินทิรา บุณยาทร. (๒๕๔๒). กรุงเทพฯ:โปรแกรมวิชาการปฐมศึกษา คณะครุศาสตร์สถาบันราชภัฏสมเด็จเจ้าพระยา. ชัยรัตน์ บุมี. (ม. ). เอกสารประกอบการสอนวิชา พฤติกรรมการสอนวิชาคอมพิวเตอร์. กำแพงเพชร:โปรแกมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คระครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. รพีพรรณ สาครสินธุ์. ) หลักการสอนและการเตรียมประสบการณ์วิชาชีพ. กรุงเทพฯ:ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คระวิชาครุศาสตร์ วิทยาลัยครูจันทรเกษม.

  1. ผม สีชมพู พีช
  2. Botox กรอบ หน้า pantip
  3. Red dawn ภาค 2.1
  4. ค ส 09.01.14
  5. ราคา รถ เก๋ง เชฟ โร เลต
  6. ราคา canon eos m50 mark ii review
  7. แจก rom ps1 super
  8. ขนาด จอ 6s plus e
  9. อัตรา ผ่อน คอน โด มือ
  10. ดี ดี คลินิก เขียนอย่างไร
  11. เย นา icone site
  12. แบ ต nmap.org
  13. โปร โม ชั่ น ของ แถม
  14. รพ แม ค เคน วากุอิ
  15. Shopee ขยายเวลาจัดส่ง คือ
  16. ราคา เสื้อ tommy kirk 1941 2021
  17. ลิเวอร์พูล vs แมนยูล่าสุด
  18. R15 ลาย movistar ราคา 7-11
Sunday, 25 September 2022